ทุกวันนี้คนชอบกล่าวหรือกระทั่งเถียงกันในประเด็นว่า “ดนตรีร็อคตายแล้ว” ปัญหาคือแล้ว “ความตาย” ที่ว่า มันมี “นิยามเชิงปฏิบัติการ” ยังไง หรือพูดภาษาชาวบ้านก็คือ อะไรต้องเกิดขึ้นถึงจะเคลมว่าดนตรีร็อคตายไปแล้ว แน่นอน นี่เป็นสิ่งที่เถียงกันได้ไม่จบ
ถ้าคิดถึงปี 1991 จะคิดถึงอะไรกันครับ? คนฟังเพลงจำนวนไม่น้อย จะนึกถึงปีที่อัลบั้ม Nevermind ของ Nirvana ขึ้นอันดับหนึ่งในปีนั้น และเซ็ตธีมให้กับ “ดนตรียุค 1990s” เรียกได้ว่า ดนตรีแนวยุคก่อนหน้านั้น “ตายหมด” แต่มันเป็นแบบนั้นจริงๆ เหรอ?
ย้อนกลับไปสัก 30 กว่าปีก่อน ราวๆ ช่วงปลายยุค 1980’s ถึงตอนต้น 1990’s การเป็นนักดนตรีร็อคเป็นเรื่องที่เท่ห์สุดๆ และอาจเรียกได้ว่าเท่ห์กว่ายุคใดในประวัติศาสตร์โลก
เวลาเราพูดถึง “เพลงอังกฤษ” หลายๆ คนก็น่าจะนึกถึงกระแส Britpop ในช่วง 1990’s ซึ่ง เป็นกระแส “เพลงอังกฤษ” ที่น่าจะ “แรง” ที่สุดแล้วในระดับโลกในยุคสมัยของเรา
ผมมั่นใจว่าถ้าถามขึ้นมาลอยๆ ว่า อัลบั้มไหนคืออัลบั้มที่ขายดีที่สุดในประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมดนตรีอเมริกา นักฟังเพลงชาวไทยส่วนใหญ่จะตอบไม่ถูก คนน่าก็เดากันไปต่างๆ นาๆ และชื่อที่คนนักถึงกันก็น่าจะหนีไม่พ้น Elvis Presley, The Beatles, Michael Jackson หรือกระทั่ง Taylor Swift
คงไม่ต้องถกเถียงกันมากมายว่า Sex Pistols น่าจะเป็นวงพังค์ร็อคที่โด่งดังและมิอิทธิพลที่สุดวงหนึ่งของโลก ซึ่งถามว่าวงดนตรีวงนี้ “มีเอกลักษณ์” อะไรที่จะทำให้ดังขนาดนั้นเหรอ? จะพูดถึงอิมเมจ เอาจริงๆ ก็ได้แรงบันดาลใจจากพวกวงอาร์ตร็อครุ่นก่อนหน้าของนิวยอร์คซะเยอะ