เวลาพูดถึง “เพลงร้านกาแฟ” ทุกวันนี้ หลายๆ คนน่าจะพอมีความคิดคราวๆ ว่ามันเป็นเพลงประมาณไหน ซึ่งถ้าจะให้อธิบาย หลายๆ คนก็คงจะอธิบายว่ามันก็คือ “เพลงแบบที่เปิดใน Starbucks” ซึ่งนี่คือปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นทั่วโลก คือคนทั่วโลกเข้าใจปรากฎการณ์แบบนี้ตรงกัน
พูดถึงอิมเมจของ “ร็อคเกอร์” ในแบบคลาสสิคนั้น ภาพแรกๆ ที่คนนึงนึกก็คือคนใส่เสื้อหนัง กางเกงยีนส์ ซึ่งถ้าขี่มอเตอร์ไซค์คันใหญ่ๆ นี่ก็น่าจะครบเครื่องเลย เรียกได้ว่าแต่งแบบนี้มาก็ได้ยินเพลงร็อคในหัวแล้ว
อเมริกาเป็นศูนย์กลางของวัฒนธรรมป็อปของโลกในศตวรรษที่ 20 ซึ่งอย่างน้อยๆ ก็ยากจะปฏิเสธว่าไม่ว่าจะเป็นภาพยนตร์หรือดนตรีที่ที่เสพกันทั้งโลก มันก็ผลิตจากอเมริกาทั้งนั้น
ถ้าพูดถึงแวดวงดนตรีที่เป็น “สุดยอด” ของโลก นอกจากแวดวงดนตรีอเมริกาและอังกฤษที่เราคุ้นเคยเป็นอย่างดีแล้ว แวดวงที่น่าจะติดอันดับในความ “เจ๋ง” แน่ๆ ก็คงจะหนีไม่พ้นญี่ปุ่น
ถ้าจะพูดถึง “ร็อคนอกกระแส” จากฝั่งอังกฤษและอเมริกา แต่ละคนน่าจะมีวงโปรดตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ซึ่งบางวงเราก็น่าจะระบุแนวชัดๆ ได้ เราก็จะเรียกแนวนั้นไป แต่มันก็จะมี “วงร็อค” อื่นๆ ที่เราไม่สามารถระบุแนวชัดๆ ได้ แต่เราจะเรียก “วงร็อค” เฉยๆ มันก็จะแปลกๆ เราต้องใส่แนวเพิ่มเติมไปหน่อย
ทุกวันนี้คนชอบกล่าวหรือกระทั่งเถียงกันในประเด็นว่า “ดนตรีร็อคตายแล้ว” ปัญหาคือแล้ว “ความตาย” ที่ว่า มันมี “นิยามเชิงปฏิบัติการ” ยังไง หรือพูดภาษาชาวบ้านก็คือ อะไรต้องเกิดขึ้นถึงจะเคลมว่าดนตรีร็อคตายไปแล้ว แน่นอน นี่เป็นสิ่งที่เถียงกันได้ไม่จบ